1. ทำไม่ต้องเป็น Swift
    1. Modern
      1. Swift เนี่ยเป็นภาษาโปรแกรมล่าสุดที่ได้จากประสบการณ์การทำแอปเปิ้ลแฟลตฟอร์มมากว่า 10 ปี (โอ้นาน นะเนี่ย) การใส่พารามิเตอร์แบบ Objective-c ที่เด่นชัดในรูปประโยคที่เป็นระเบียบนั้นได้สร้าง API ให้กับ Swift ที่ง่ายต่อการอ่านและการปรับปรุง … เรื่องของเมมโมรี่ไม่ต้องกังวล มันจัดการให้เองอัตโนมัติเลย (วู้ดีจุงเบย จัดการให้ยังไงหว่า อันนี้ต้องศึกษาเพิ่ม จะเหมือน ARC หรือป่าวหรือดีกว่า) ทีเด็ดที่จะงงกันอยู่ตรงนี้ครับ >>> ไม่ต้องใส่ ; อีกต่อไป (แค่เริ่มก็โค้ดเออเรอแล้ว 555+ จบด้วยการเคาะนิ้วก้อยขวาตลอดแบบนี้อ่ะ เราจะใส่ ; ปิดท้ายก็ได้นะครับไม่เออเรอแต่อย่างใด)
    2. Design for Safty
      1. Swift มีการตัดโค้ดที่ไม่ปลอดภัยออก ตัวแปรที่ต้องมีการประกาศค่าก่อนใช้ตลอด อาเรย์และค่าตัวเลขนั้นถูกเช็คสำหรับการป้องกัน Overflow (ตรงนี้เจ๋งครับ เป็นบ่อยครับในเรื่องของ index ของอาเรย์จากการคำนวน) และเมมโมรี่จะถูกจัดการตลอดแบบอัตโนมัติ รูปประโยคนั้นปรับให้ง่ายขึ้นมากในการประกาศค่าตัวแปร ตัวอย่าง “ABC” จะใช้คีเวิร์ดในการสร้างคือ var (มาจาก variable) หรือจะสร้างแบบ constant ให้ใช้ let (ง่ายไป ว่าแล้วทำไมมีแค่ var กับ let เข้าใจเลย แต่คงต้องไปดูเรื่องของ constant ด้วยว่าขอบเขตการใช้งานขนาดไหน)
      2. The Safe patterns ใน Swift นั้นถูกปรับสำหรับ Cocoa และ Cocoa Touch API ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ Swift เนี่ยทำงานร่วมกันได้ในการสร้าง iOS และ Mac แอพที่ง่ายกว่าและปลอยภัยกว่าแต่ก่อน
    3. Fase and Powerful
      1. Swift นั้นสร้างมาเพื่อให้ทำงานได้เร็ว ใช้ LLVM compiler ประสิทธิภาพสูง โค้ด Swift นั้นเปลี่ยนแปลงจนเป็น native code ที่เหมาะสม ปรับให้ได้รับประโยชน์จาก Modern Mac, iPhone และ iPad มากที่สุด รูปแบบประโยคและ library มาตราฐานนั้นถูกปรับให้เข้าใจง่าย ทำให้การเขียนโค้ดของคุณบรรลุเป้าหมายอย่างดีที่สุด (ว้าว แปลถูกมั้ยเนี่ย แต่ก็ว้าว…)
      2. Swift นำเอาข้อดีของทั้ง C และ Objective-c มาใช้ นั้นรวมไปถึง low-level primitives เช่น type, flow control และ operators และยังมี OOP ด้วยเช่น คลาส โปรโตคอล และ generics ได้มอบประสิทธิภาพและพลังตามแต่นักพัฒนา Cocoa และ Cocoa Touch ต้องการ (เหอะๆ)
  2. รู้จัก Swift
    1. Swift เป็นนวัตกรรมภาษาคอมพิวเตอร์ตัวใหม่ สำหรับ Cocoa และ Cocoa Touch (สำหรับพัฒนาแอพบน Mac OS และ iOS นั้นเอง)
    2. การเขียนโค้ดมีการตอบสนองอย่างรวดเร็วและสนุก ด้วยรูปแบบประโยคโค้ดที่สั้นกระชับแต่ก็ยังสื่อความหมาย และแอพทำงานอย่างรวดเร็ว
  3. Constants and Variables
    1. Explicit Variables
      1. การประกาศ ตัวแปร สามารถแก้ไข Value ได้ในภายหลัง
      2. ไม่จำเป็นต้อง จบด้วย เซมิโคล่อน ก็ได้ ( ; )
    2. แบบระบุชนิดตัวแปรเข้าไปเลย (Type Safe)
      1. String
      2. Integer
      3. Double
      4. Boolene
    3. แบบไม่ระบุชนิดตัวแปร (Type Inference)
    4. ชนิดของตัวแปร
      1. var
        1. ตัวแปรที่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าหลังจากประกาศตัวแปรแล้วได้ หรือ Variable ตัวแปรนี้จะประกาศตัวแปรด้วยคีย์เวิร์ด var
      2. let
        1. ตัวแปรที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้ หรือ Constant ตัวแปรนี้จะประกาศตัวแปรด้วยคีย์เวิร์ด let
    5. การประกาศตัวแปรแบบ Type Safe ชื่อชนืดของตัวแปรจะเริ่มต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เช่น String, Double, Int, Bool (จะไม่มีตัวพิมพ์เล็กให้สับสนอีกต่อไป เพราะว่าการประกาศตัวแปรพื้นฐานใน Swift ทุกตัวนั้นเป็น Object ของ Structure ทั้งหมด ดังนั้นชื่อชนิดตัวแปรจึงเป็นตัวพิมพ์ใหญ่)
    6. ค่า Boolean จะใช้ชนิดตัวแปรว่า Bool และค่าที่ใช้จะใช้ true (จริง) และ false (เท็จ) เท่านั้น
  4. การแสดงข้อความ ออก Console
    1. Subtopic 2
    2. ผลลัพธ์
    3. println
      1. Console Output
  5. ชนิดของตัวแปร
    1. ชนิดของตัวแปร
      1. Integer
        1. Int คือ Integer ที่ Singed ที่ สามารถมีค่าติดลบได้
        2. UInt คือ Integer ที่ Unsinged ไม่ สามารถมีค่าติดลบได้
      2. จำนวนมี ทศนิยม
        1. Float ขนาดจำนวน 32bit
        2. Double ขนาดจำนวน 64 bit
      3. String
        1. เก็บข้อมูลเป็นตัวอักษร
          1. การประกาศตัวแปร String แบบให้ Swift กำหนด DataType ให้ และ กำหนดเอง
          2. สังเกตุจะมี Error เพราะเรากำหนดให้ strTown เป็น String ก่อน แต่ไปกำหนด ค่า 3 ที่เป็น int เลย Error
          3. พอแก้ไขเป็น "London" ที่เป็น String ก็หาย
      4. Boolene
        1. จำนวนที่แสดงค่า true และ false
  6. Operation
    1. Operation
  7. การเปรียบเทียบ
    1. การเปรียบเทียบ
      1. if else Statement
      2. if else Over if else
      3. Switch Case Statement
  8. คำสั่ง Loop
    1. for (ประกาศค่าเริ่มต้น; เงื่อนไข True; เพิ่มค่า) { ให้ทำอะไร }
    2. while (เงื่อนไข True) { สิ่งที่ให้ทำ ถ้าเงื่อนไข True }
    3. do { สิ่งที่ต้องการให้ทำ } while (เงื่อนไข)
  9. Array
    1. การกำหนดค่า
  10. Function
    1. Normal
    2. Return
    3. Single Agument
    4. Multiple Argument
    5. External Parameter