1. แนวคิดพื้นฐานในการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในองค์กร
    1. 1. แนวคิดที่เชื่อว่าระบบสารสนเทศมีผลกระทบต่อองค์กรด้านเดียว 2. แนวคิดที่เชื่อว่าองค์กรและระบบสารสนเทศมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
      1. 1. ระบบสารสนเทศจำแนกตามชื่อหน่วยงาน 2. ระบบสารสนเทศจำแนกตามหน้าที่ของงาน 3. ระบบสารสนเทศจำแนกตามลักษณะการดำเนินงาน
  2. ระบบประมวลผลรายการ
    1. เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่ เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐาน ขององค์การ
  3. ระบบสารสนเทศสำนักงาน
    1. คุณลักษณะของระบบสารสนเทศเพื่อสำนักงาน 1. มีการเก็บรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลทุกกลุ่มไว้เพื่อการใช้งาน 2. ช่วยการทำงานอัตโนมัติด้านต่างๆ ได้แก่ การประมวลผลคำ (Word Processing) ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Work Group Computing) การกำหนดการทำงานร่วมกัน (Work Group Scheduling) เอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือรูปภาพ การจัดการกระแสการทำงาน (Work Flow Management) 3. มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีร่วมกันระหว่าง OIS กับ TPS ได้แก่ - เทคโนโลยีข้อความอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Messing Technology) พนักงาน สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ด้วยการส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ - เทคโนโลยีชุดโปรแกรมสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation Suite Technology) นำโปรแกรมที่ใช้ในสำนักงานมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน - เทคโนโลยีรูปภาพ (Imaging Technology) เป็นการผสมผสานกันระหว่างรูปภาพและแบบ ฟอร์มอิเล็คทรอนิกส์เพื่อใช้ในการทำงาน หรือเป็นการสแกนรูปภาพนั่นเอง
  4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
    1. MIS เป็นระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ อย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนำมาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน และการตัดสินใจในด้านต่างๆ
    2. ระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing Systems: TPS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems: DSS) ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems: EIS) ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information Systems: OIS)
    3. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์  ช่วยให้ผู้ใช้ในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ  ช่วยให้ผู้ใช้ในการตรวจสอบประเมินผลการดำเนินงาน  ช่วยให้ผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา  ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น  ช่วยลดค่าใช้จ่าย
  5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
    1. การผสมผสานการใช้งานระหว่าง ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ภาษา และกระบวนการเพื่อสนับสนุนการประชุมของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง กับการตัดสินใจในเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง จึงต้องประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ผู้ใช้
      1. ประโยชน์ของระบบ GDSS 1. ช่วยในการเตรียมความพร้อมในการประชุม 2. มีการจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม 3. สร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมและกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก 5. มีการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังของปัญหา 6. ช่วยให้การประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร 7. มีหลักฐานการประชุมแน่ชัด
    2. องค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม [GDSS] ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) ผู้ใช้ (User) กระบวนการ (Procedure)
  6. ระบบสนับสนุนการทำงานแบบกลุ่ม
    1. วัตถุประสงค์ในการใช้ระบบสนับสนุนการทำงานแบบกลุ่ม การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารในทีมงาน แบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารด้วยการจดบันทึก 2. การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน 3. การใช้ระบบสรสนเทศในการบริหารโครงการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  7. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร
    1. ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (Executive support system: ESS) ช่วยแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้างโดยเน้นข่าวสารสำหรับผู้บริหารระดับสูง (Senior management) ระบบ ESS
    2. บทบาทผู้บริหารและการตัดสินใจ 1. การวางแผนกลยุทธ์ เป็นการะบวนการกำหนดเป้าหมายระยะยาว ขององค์การการเลือกวิถีทาง เพื่อให้บรรลุจุดหมายนั้น 2. การวางแผนยุทธวิธี 3. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
    3. ประเภทของการตัดสินใจของผู้บริหาร 1. ขาดโครงสร้าง (Lack or structure) 2. มีระดับความไม่แน่นอนสูง (High degree of uncertainty) 3. การเน้นที่อนาคต (Future orientation) 4. แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ (Informal sources) 5. ระดับรายละเอียดน้อย (Low level of detail)