Thatchawut Wangungkananon 11/1
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับการตั้งถิ่นฐาน
ลุ่มน้ำสินธุ
อุดมสมบูรณ์
โลหะ : ทองคำ, ผสมสำริด
ภูมิอากาศ
ลมมรสุม
ตอนเหนือ
ฝันตกชุก
ลุ่มน้ำสินธุ และ ที่ราบสูงภาคกลาง
ภูมิอากาศแห้งแล้ง
ภูมิศาสตร์
ตอนเหนือ
ภูเขาสูง - เทือกเขาหิมาลัย
ตะวันตกเฉียงเหนือ
ที่ราบลุมแม่น้ำสินธุ
ทะเลทรายธาร์
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา
ที่ราบลุม่แม่น้ำสาขา
ตอนใต้
ลุ่มน้ำสินธุ ที่ราบสูง
ที่ราบสูงเดกกัน
ถูกรุกรานจากชนชาติอื่นทางช่องเขาไคเบอร์และช่องเขาโบลัน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
เมืองโบราณที่สำคัญ :> ศูนย์กลางอารยธรรม
1.เมืองฮารัปปา แคว้นปัญจาบ
2.เมืองโมเฮนโจดาโร แคว้นซินด์
ชาวสินธุ
เครื่องมือ
เขาสัตว์
กระดูก
หิน
สำริด
ดวงตรา รูปเทวดาตรงกลาง ล้อมด้วยเสือ สิงห์ กระทิง แรด
พระศิวะ
ศิวลึง ของนิกายไศวะ ศาสนาพราหมณ์
ชาวพื้นเมือง
ชนเผ่าทราวิฑ/ดราวิเดียน
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
ล้มสลาย
ภัยธรรมชาติ น้ำทวม, พายุทะเลทราย
ชนเผ่าอินโด-อารยันคุกคาม
ค้าขายกับชาวอียิปต์และเมโสโปเตเมีย
การปครอง
1.คัมภีร์พระเวทย์
การแบ่งชนชั้นวรรณะ
2.ราชาธิปไตย
สมัยประวัติศาสตร์
สมัยมหากาพย์
รามายณะ/รามเกียรติ์ - ฤๅษีวาลมิกิ
มหาภารตะ - ฤๅษีวยาสะ
ศาสนาชาวอารยัน บูชายัญ ต่อมาบูชารูปปั้นเทวะและเทวี
ต้นแบบศาสนาฮินดู
สมัยจักรวรรดิ
1.สมัยจักรวรรดิมคธ
กษัตริย์ที่มีชื่อเสียง
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าอชาตศัตรู
การปกครอง
กษัตริย์สูงสุด
ขุนนางข้าราชการ 3 ฝ่าย/มหามาตระ
1.ฝ่ายบริหาร
2.ฝ่ายตุลาการ
3.ฝ่ายการทหาร
ศูนย์กลางพระพุธทศาสนา
2.สมันจักรวรรดิเมารยะ
กษัตริย์มีชื่อเสียง
พระเจ้าอโศกมหาราช (นับถือพระพุทธศาสนา)
ใช้ศีลธรรมในการจัดระเบียบสังคม
ให้อิสระแก่ประชาชนนับถือศาสนา
ปลดข้อห้ามศาสนาพราหมณ์บางข้อ
ให้หญิงม่ายแต่งงานใหม่ได้
การปกครอง
รวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และเมืองหลวง
มีสภาเสนาบดีและสภาแห่งรัฐ จักรพรรดิแต่งตั้งไว้ช่วยเหลือ
ความเจริญ
ถนนเชื่อมหัวเมือง
สำรวจสำมโนประชากร
กองทัพใหญ่
ระบบชลประทาน
หน่วยงานสืบราชการลับ
ใบผ่านสำหรับคนต่างชาติ
มหาวิทยาลัย
3.สมัยแบ่งแยกและการรุกรานจากภายนอก
กษัตริย์ที่มีชื่อเสียง
พระเจ้ากนิษกะ(นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานเผยแผ่ไปจีน ทิเบต ญี่ปุ่น)
แคว้นที่มีอำนาจ
แคว้นคันธาระ เขตลุ่มน้ำสินธุ
ผลกระทบ หลังจากจักรวรรดิเมารยะล้ม
1.อาณาจักรแบ่งแยก
2.การรุกรานจากภายนอก
ชาวกรีก
อิหร่าน/เปอร์เซีย
ศกะ
กุษาณะ
ถ่ายทอดวัฒนธรรม
ปรัชญา,วิทยาการ
ศิลปกรรม - สถาปัตยกรรม,ประติมากรรม
4.สมัยจักรวรรดิคุปตะ
พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1
ปราบอาณาจักรต่างๆ
ยุคทอง
ตั้งกรุงปาฎลีบุตร = ราชธานี
เกิดมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นมากมาย
นักวิทยาศาสตร์
สบู่
ซีเมนต์
การแพทย์
ผ่าตัด
เมืองสาญจี ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา
5.หลังสมัยจักรวรรดิตุปตะ
ชนต่างชาติรุกรานตอนเหนืออินเดีย
ศาสนาพราหมณ์และพุทธถูกกวาดล้าง
อินเดียตอนใต้
1.ศาสนาพุทธรุ่ง
2.อาณาจักรปัลลวะ นับถือพราหมณ์ > ศาสนาพุทธค่อยๆเสื่อม
3.อาณาจักรโจฬะ
ศูนย์อำนาจ - ทมิฬนาดู
ภาษาทมิฬ
นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
เผยแผ่ไปพม่า เกาะสุมาตรา แหลมมลายู เกาะชวา เกาะบอร์เนียว
กษัตริย์สร้างมหาเทวลัยที่ใหญ่ที่สุดที่โคปุระ
สมัยมุสลิม
1.มุสลิมเชื้อสายเติร์ก (จากเอเชียกลาง)รุกราน
ใช้อัฟกานิสถานเป็นฐานขยายอำนาจ
เมืองเดลีเป็นเมืองหลวง
ปราบปรามศาสนาพุทธและพราหมณ์+บังคับ
ภาษีจิชยา (ถ้าไม่นับถือมุสลิม)
2.เกิดศาสนาใหม่ = ศาสนาสิข (หลักศาสนาพราหมณ์-ฮินดู+อิสลาม)
3.มุคัล
ล้มสุลต่านแห่งเดลี
สถาปนาราชวงศ์มุคัล
กษัตริย์มีชื่อเสียง
พระเจ้าอักบาร์มหาราช (นับถือมุสลิม)
ให้เสรีในการนับถือศาสนา
สมัยพระเจ้าออรังเซบ
กดขี่พวกศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ภาษีจิซยา
4.ราชวงศ์มุคัลแพ้อังฤษ
เสียดินแดน
ใต้การปกครองรัฐบาลอังกฤษ
สังคมและวัฒนธรรม
1.ระบบวรรณะ
1.1วรรณะพราหมณ์
1.2วรรณะกษัตริย์
1.3วรรณะไวศยะ/แพศย์
1.4วรรณะศูทร
2.ปรัชญาและลัทธิศาสนา
2.1ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
2.2ศาสนาพุทธ
2.3ศาสนาเชน
3.เทพเจ้าของอินเดีย
3.1พระศิวะ(ทำลาย)
3.2พระพรหม(สร้าง)
3.3พระวิษณุ/พระนารายณ์(สันติ,ปราบปราม)
ศิลปกรรม
1.สถาปัตยกรรม
1.1ราชวงศ์เมารยะ
จากจักรวรรดิเปอร์เซีย(สถูป เสาหิน)
พระพุทธศาสนา(พระสถุปที่สาญจี, เสาหินเมืองสารนาถ, พระราชวังของพระเจ้าอโศกมหาราชเมืองปาฏลีบุตร)
1.2ราชวงศ์มธุรา
1.คันธาระ
2.มถุรา
3.อมราวดี
1.3ราชวงศ์คุปตะและหลังสมัยคุปตะ
สถูป
เจดีย์
อาคาร
เทวสถาน
พุทธศาสนา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
1.4สมัยมุสลิม
สุสานตาชมะฮัล สมัยพระเจ้าชาฆ์จะฮาน ราชวงศ์มุคัล
ศิลปะฮินดู+เปอร์เซีย
พระพุทธศาสนา
2.ประติมากรรม
2.1คันธาระอิทธิพลจากรีก พบมากราชวงศ์กุษาณะ ภาคเหนือภาคตะวันตกเฉียงเหนืออินเดีย อัฟกานิสถาน เอเชียกลาง
2.2อมราวดีอิทธิพลกรีก
พระพุทธรูป:พระพักตร์ยาว พระเกตุมาลาชัดบนเศียร พระเกศาขมวดแบนเล็ก
2.3สมัยคุปตะ
1.พระพุทธรูปปรางปรินิพพาน ถ้ำอชันตะ
2.เทวรูป
ศาสนาพุทธ+พราหมณ์-ฮินดู อินเดียอย่างแท้จริง
3.จิตรกรรม
3.1ไม่มี สมัยราชวงศ์เมารยะ
3.2เพดานถ้ำโยคีมารา ภาคตะวันอินเดีย สีดำ ขาว แดง
3.3ศิลปะอมรวดี - ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ถ้ำอชันตะ อ่อนช้อย
3.4สมัยคุปตะและหลังคุปตะ ชาดก 30 เรื่อง บนผนังถ้ำอชันตะ
4.นาฏศิลป์และสังคีตศิลป์
4.1บูชาเทพเจ้า
4.2บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า
4.3ดนตรีที่สำคัญ
วีณา/พิณ
เวณุ/ขลุ่ย
กลอง
5.วรรณกรรม
5.1ภาษาพระเวท
ภาษาสันสกฤตโบราณพวกอารยัน
ประกอบ
1.ฤคเวท - ร้อยกรอง สรรเสริญพระเจ้า
2.ยชุรเวท - ร้อยแก้ว พิธียัญกรรม พิธีบวงสรวง
3.สมาเวท - ร้อยกรอง พิธีถวายน้ำโสมแก่พระิอินทร์ ขับกล่อมเทพเจ้า
4.อาถรรพเวท - คาถาอาคม
5.2ตันติสันสกฤต/สันสกฤตแบบแผน
ร้อยกรอง "โศลก"
1.มหาภารตะ 2.รามายณะ (สำคัญที่สุด)
บทละคร - ศกุนตลา โดย กาลิทาส
5.3สันสกฤตผสม
ร้อยแก้ว หลักธรรม+เรื่องราวพระพุทธศาสนา
พุทธจริต โดย อัศวโฆษ
5.4ภาษาอื่นๆ
1.ภาษาบาลี
ร้อยแก้ว พุทธศาสนายิกายเถรวาท
พระไตรปิฎก ชาดก
2.ภาษาทมิฬ
ความก้าวหน้าทางวิทยาการ
1.ภาษาศาสตร์
1.1สันสกฤต ใช้ในคัมภีร์พระเวท
ตำราไวยากรณ์ - 1.นิรุกตะ โดย ยาสกะ 2.อัษฎาธยายี โดย ปาณินิ
1.2มุสลิมเติร์ก
เกิด ภาษาอูรดู = ภาษาสันสกฤต + อารบิก + เปอร์เซีย
2.ธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์
2.1ธรรมศาสตร์
กฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี ศีลธรรม หน้าที่ ความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ สังคมมนุษย์ อุดมคติสูงสุด
มนูสมฤติ/มานวธรรมศาสตร์ - หนังสือกฎ+หน้าที่ฆราวาส
2.2นิติศาสตร์
การปกครอง ความมั่นคงของบ้านเมือง ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา
หนังสือ อรรถศาสตร์ โดย เกาฏยะ
3.แพทยศาสตร์
อรรถศาสตร์ (ยาพิษ)
มหาภาสนะ โดย ปตัญชลี (อายุรเวท)
คัมภีร์บาลี (แพทย์ชีวกะ)
จรกะสังหิตา โดย จรกะ (ยารักษาโรค อาหาร กายวิภาค ชีววิทยา)
สุศรุตสังหิตา โดย สุศรุต (ศัลยศาสตร์)
4.ชโยติษ (ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ คณิตศาสตร์)
ดาราศาสตร์ - ประกอบยัญกรรม พิธีกรรม ฤกษ์ยามสำคัญมาก
คณิตศาสตร์ - ชาติแรกประดิษฐ์เลข 0
การแพร่ขยายและการถ่ายทอด
เอเชียตะวันออก - พุทธศาสนานิกายมหายานต่อจีน
เอเชียกลาง
พุทธศาสนานิกายมหายาน - ศาสนสถาน สิ่งก่อสร้าง ศิลปวัตถุ
มุสลิม แทนที่มาจนปัจจุบัน
เปอร์เชีย
พระราชวัง
เจาะภูเขาเป็นถ้ำ
เด่นชัด "เอเชียตะวันออกเฉียงใต้"
1.ศาสนา 2.ความเชื่อ
3.การปกครอง 4.ตัวอักษร
5.ศิลปะอมราวดี มถุระ คุปตะ ปาละ เสนะ